ย้อนไปในอดีตสักนิด ม้าไทยมาจากไหน อย่างไรก็ตาม ธรรมชาติไม่ได้สร้างม้า ย้อนไปในอดีตสักนิด

ย้อนไปในอดีตสักนิด ให้เกิดขึ้นมา อยู่ใกล้กับ เส้นศูนย์สูตร และไม่มีหลักฐาน โครงกระดูก หรือโบราณวัตถุ ในยุคก่อน ประวัติศาสตร์ ว่าเคยมีม้า อยู่ในโซนเอเชีย อาคเนย์นี้เลย คำถามคือ แล้วม้าไทยมาจากไหน?

สพ.ญ.ศุภวรรณ ตันมณี ผู้เชี่ยวชาญเรื่องม้า ในดินแดนประเทศไทย จากหลักฐาน โบราณคดี อธิบายว่า ทุกครั้งที่มี การอพยพหรือ การค้าขาย พันธ์สยามเป็นอย่างไร

ม้าจะเป็นสัตว์ที่ ถูกนำไปใช้งานด้วย เพราะฉะนั้น ม้าและมนุษย์ ก็จะเคลื่อนย้าย ไปตามการอพยพ การเดินทาง และการค้าขายเป็นหลัก

“สันนิษฐานว่า ม้าเข้ามาในประเทศไทยตั้งแต่สมัยทวาราวดี เพราะมีหลักฐานเรื่องเกี่ยวกับการค้าขาย การเดินเรือ และการที่ม้าจะเข้ามาเป็นเครื่องบรรณาการหรือเป็นสินค้า ในสมัยพระนารายณ์ก็มีการบันทึกเกี่ยวกับการที่จะนำม้าเข้ามา

ว่าม้ามาจากปัตตาเวีย หรือชวา อันนั้นชัดเจนว่า เป็นม้าสายพันธุ์อาหรับ ส่วนม้าสายพันธุ์มองโกล มาในหลายระยะมาก ทั้งจากการเดินทาง หรือจากการส่งมา เป็นเครื่องบรรณาการ  ซึ่งบรรณาการ ไม่ได้ส่งมา แบบรัฐต่อรัฐ อาจจะเป็นพ่อค้า เอาเข้ามา

เพราะว่าใน การเดินทาง จะมีเรือพ่อค้า อีกหลายร้อยลำ ตามมาเยอะแยะ แต่ที่เห็นมาก ก็คือเส้นทางบก เราต้องนึกภาพ ถึงเส้นทางเรือ กับเส้นทางบก ที่ม้าจะมาได้ เพราะฉะนั้น ถ้าดูตามเส้นทาง บกม้าก็อาจจะ มาจากทางจีน พม่า ลาว เข้ามาได้หมด”

ข้อสันนิษฐานหนึ่ง ที่จะใช้วิเคราะห์ ถึงการเข้ามา ของม้าในเมืองไทย คงเป็นการศึกษา จากเส้นทางม้าชา ซึ่งเกิดขึ้นราว คริสตศตวรรษที่ 7 ในเขตมณฑลยูนาน ประเทสจีน โดยหมอน้อง อธิบายว่า

ย้อนไปในอดีตสักนิด

ในตอนนั้น ทิเบตมีความต้องการ บริโภคใบชาปู่เอ๋อ

จากมณฑลยูนาน ทว่า การขนส่ง ต้องเดินทาง ผ่านภูเขาสูงชัน บ้างก็เป็นหุบเหวลึก และลำธาร ที่มีน้ำไหลเชี่ยวกราก การนำม้า มาเป็นพาหนะ ทุ่นแรงจึงเกิดขึ้น กระทั่ง เกิดเส้นทางค้าใบชา บนหลังม้าขึ้น กีฬาขี่ม้า

จากยูนานไปทิเบต อินเดีย และเวียดนาม จนท้ายที่สุด เส้นทางนี้ ทำให้ม้าพื้นเมือง แพร่ขยายเข้ามาสู่ภาคเหนือ ของประเทศไทย เกิดเป็น วัฒนธรรม การเลี้ยงม้าขึ้นมา และม้าจากยูนาน ก็เป็นม้าสายพันธุ์เอเชีย ที่มีลักษณะ ทางพันธุกรรม เชื่อมโยงกับม้ามองโกล

“คนชอบถามบ่อยๆ ว่า ไปสนใจทำไม ประวัติศาสตร์ม้า แต่จริงๆ แล้วมันไม่ใช่แค่ประวัติศาสตร์ม้า ความจริงมันคือ ประวัติศาสตร์มนุษย์ ถ้าเราทำลายประวัติศาสตร์ม้า ก็เท่ากับเรา ได้ทำลายประวัติศาสตร์มนุษย์ด้วย

ดังนั้นตรงนี้ ก็เป็นส่วนหนึ่ง ในแง่ของ การดูมรดกเรา ที่เราน่าจะรู้ เพราะว่า เราจะได้รู้ ภูมิหลังของตัวเรา ภูมิหลังของประเทศเรา ภูมิหลังของชนชาติของเรา” หมอน้อง กล่าว

ไม่เพียงเท่านั้น หลักฐานล่าสุด คือโครงกระดูกม้า แบบสมบูรณ์ ที่ขุดค้นพบ จากโบราณสถานเวียงท่ากาน จังหวัดเชียงใหม่ ก็ช่วยยืนยัน ได้ถึงการมีอยู่ ของม้าไทย ตั้งแต่สมัยอดีตกาล เรื่องนี้

นิรมล พงศ์สถาพร นักโบราณคดีปฏิบัติการ สำนักศิลปากรที่ 8 เชียงใหม่ บอกว่า หลักฐานทางโบราณคดีต่างๆ ของเวียงท่ากาน น่าจะมีความเก่าแก่ ย้อนอดีตไปได้ ถึงสมัยหริภุญไชย

ซึ่งนอกจาก โบราณสถาน ข้าวของเครื่องใช้ รวมถึง โครงกระดูกมนุษย์แล้ว “โครงกระดูกม้า” ก็เป็นโบราณ วัตถุชิ้นใหม่ ที่น่าสนใจ ในแง่ของ การศึกษาประวัติศาสตร์ โบราณคดี ดูบอลสด

การพบโครงกระดูกม้า ที่โบราณสถาน เวียงท่ากาน ถือเป็นการขยายภาพ ประวัติศาสตร์ ของการมีม้า ในประเทศไทย ให้ชัดเจนขึ้น ซึ่งก่อนหน้านี้ เคยมีการพบ โครงกระดูกม้าที่ นครราชสีมา ลพบุรี และสุโขทัย

แต่เป็นการพบแบบ ไม่สมบูรณ์ คือชิ้นส่วนม้า หรือบางตัวก็มีครบร่าง ขาดเพียง แต่ส่วนหัวเท่านั้น และจากการประเมินค่า อายุก็อยู่ราว พุทธศตวรรษที่ 16-17 แต่ที่เวียงท่ากาน มีอายุเก่าแก่ ไปกว่านั้น