พันธ์สยามเป็นอย่างไร เจาะดีเอ็นเอม้าไทย มองโกเลีย เป็นประเทศที่มีประวัติศาสตร์ พันธ์สยามเป็นอย่างไร

พันธ์สยามเป็นอย่างไร วัฒนธรรม การเลี้ยงม้า มาช้านาน ที่โดดเด่น ก็ตั้งแต่ ยุคสมัย เจงกิสข่าน ที่ใช้กองทัพทหารม้า ในการแผ่ขยาย อาณาเขต และม้าสายพันธุ์ มองโกเลีย

ยังเป็นหนึ่ง ในสายพันธุ์ม้า ที่มีอิทธิพล ต่อวิวัฒนาการ ของการเปลี่ยนแปลง สายพันธุ์ม้า ทั่วโลกดังที่เห็นอยู่ ในปัจจุบัน จากการศึกษา ของมูลนิธิม้าลำปาง

นำโดย สพ.ญ.ดร.ศิรยา ชื่นกำไร ประธานมูลนิธิฯ ที่ดำเนินการศึกษา เรื่องนี้มา อย่างจริงจังตั้งแต่ปี 2546 พบว่า ม้าพื้นเมืองไทย เป็นม้าที่มี ดีเอ็นเอ อยู่ในกลุ่มเดียวกัน กับม้าพื้นบ้านมองโกล

“เมื่อ 11 ปีที่แล้ว เราไปทางภาคเหนือ และดูม้าที่ลำปาง ได้มีโอกาส ไปกับ ดร.คาร์ล่า คาร์ลีตัน จากมหาวิทยาลัย มิชิแกน ไปเห็นสุขภาพ ของม้าหลายๆ เรื่อง ก็มีโอกาสศึกษา ขณะที่เราดำเนินงาน และจัดตั้งเป็น กองทุนคลินิคม้าเล็กๆ ขึ้นมา

เราก็เริ่มสังเกตว่า ม้าไทย ม้าพื้นเมืองไทย มีลักษณะ ภายนอก ที่โดดเด่น ใกล้เคียงกับ ม้ามองโกลเลีย นั่นเป็นที่มา ของการที่ แทนที่ เราจะดูแค่ สุขภาพ สายที่แข็งแกร่งและสง่างาม

เรื่องการตรวจโรค เราก็เริ่มเก็บดีเอ็นเอ และเราก็เริ่มเทียบเคียง ดีเอ็นเอนั้น กับม้าสายพันธุ์ต่างๆ ทั่วโลก ปรากฎว่า ดีเอ็นเอม้า ที่เราเก็บมาจาก ตัวอย่างม้า ในชุมชนจังหวัด ลำปางไม่ใช่กลุ่ม ที่เข้ากับกลุ่ม ที่มนุษย์สร้างขึ้นเลย มันจะเป็นม้า ที่เกิดขึ้น ตามธรรมชาติ”

แม้จะพบ ดีเอ็นเอม้า ที่น่าสนใจ แต่ สพ.ญ.ดร.ศิรยา ชื่นกำไร หรือ หมอน้อง บอกว่า พบแค่ 20 เปอร์เซ็นต์เท่านั้น สาเหตุเป็นเพราะ คนส่วนใหญ่ นิยมเอาม้าไทย ไปผสม ข้ามสายพันธุ์เพื่อให้ได้ ลักษณะและ คุณสมบัติม้า ที่ต้องการ

พันธ์สยามเป็นอย่างไร

ทว่า การผสมดังกล่าว ถือเป็นการทำลายล้าง ดีเอ็นเอที่น่าสนใจไป

“เราเลยต้องเดินทาง ไปภาคเหนือ ไปตามตะเข็บชายแดน หรือหาตามชุมชน บนภูเขาที่ เขามีโอกาส ผสมข้าม สายพันธุ์น้อยมาก แล้วก็เก็บ ดีเอ็นจากที่นั่น กีฬาขี่ม้า

ปรากฏว่า คราวนี้ เราเจอแจ็คพอตเลย เราเจอกลุ่มม้า ไม่กี่ตัว ที่เราไป สำรวจยืนยันว่า อันนี้เป็นยีนส์โบราณ เป็นที่มาของ การที่เราเดินทาง ไปมองโกเลีย เพื่อพิสูจน์ว่า สิ่งที่เราสันนิษฐาน และมองดูว่า หน้าตาคล้ายๆ กันมันใช่มั้ย

ปรากฏว่า นอกจาก โปรโตไทป์ จะใกล้เคียงกันแล้ว ผลดีเอ็นเอ ที่เก็บมาเทียบกัน เป็นกลุ่มเดียวกัน ม้าไทยกับ ม้ามองโกเลีย เป็นกลุ่มเดียวกัน”

ม้าสายพันธุ์ พื้นบ้านมองโกเลีย เป็นม้าเลี้ยงสายพันธุ์สุดท้าย ที่หลงเหลืออยู่ ในโลก และเป็นสายพันธุ์เดียว ที่เกิดขึ้นเอง ตามธรรมชาติ ดูบอลสด

เมื่อม้าไทย มีดีเอ็นเอ ตรงกับม้าพื้นบ้าน สายพันธุ์มองโกล นั่นก็แปลว่า ม้าไทย คือม้าที่ เกิดขึ้นเอง ตามธรรมชาติ สายพันธุ์สุดท้าย ของโลกด้วยเช่นกัน

“ม้าในมองโกเลียจริงๆ จะมี 2 กลุ่ม คือกลุ่มที่เป็นม้าป่า และกลุ่มม้าบ้าน ยังมีคนเข้าใจผิด อยู่ที่จะเรียกรวม เอาม้าป่าเป็น กลุ่มเดียวกับม้าบ้าน ซึ่งม้าป่า จะมีชื่อเรียก สายพันธุ์ว่า ม้าป่า ซึ่งเป็นกลุ่มม้าป่า ที่ไม่สามารถ เอามาเทียบเคียง กับม้าบ้านที่ เป็นกลุ่มได้

ฉะนั้น ในกลุ่มที่เรา เทียบเคียงกัน ระหว่างม้าไทย กับม้ามองโกลก็คือ ม้าพื้นเมืองไทยกับ ม้า ด้วยกัน” น.สพ.เทียนธาดา โพธิพงศธร สัตวแพทย์ ประจำมูลนิธิ ม้าลำปาง อธิบาย